สิ่งแวดล้อมทางการตลาด มี 2 ปัจจัย คือ
1. สิ่งแวดล้อมที่ควบคุมไม่ได้
คือสิ่งแวดล้อมภายนอกทั้งใน ระดับมหภาค ซึ่งมี 7 องค์ประกอบ ประกอบด้วย
1) ประชากรศาสตร์ (Demography)
2) เศรษฐกิจ (Economic)
2) เศรษฐกิจ (Economic)
3) การแข่งขัน (Competition)
4) สังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural)
5) การเมืองและกฎหมาย (Political and Legal)
6) เทคโนโลยี (Technology)
7) สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment) โดยผู้บริโภคเรียกร้องอยากได้สินค้า ที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม จึงก่อให้เกิด “ลัทธิการบริโภคสีเขียว” “Green Marketing”
5) การเมืองและกฎหมาย (Political and Legal)
6) เทคโนโลยี (Technology)
7) สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment) โดยผู้บริโภคเรียกร้องอยากได้สินค้า ที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม จึงก่อให้เกิด “ลัทธิการบริโภคสีเขียว” “Green Marketing”
ระดับจุลภาค มี 3
องค์ประกอบ คือ
1) ผู้ขายปัจจัยการผลิตหรือวัตถุดิบ
(Supplier)
2) คนกลางทางการตลาด
(Marketing
Intermediaries) แบ่งออกได้เป็น
2.1) คนกลางหรือผู้ขายต่อ
2.1.1) พ่อค้าคนกลาง (Merchant)
2.1.2) ตัวแทนคนกลาง (Agent)
2.2) สถาบันอำนวยความสะดวกทางการตลาดหรือช่วยทำหน้าที่กระจายสินค้า
3) ตลาด (Market) หรือลูกค้า
(Customer) ทั้งผู้บริโภค
อุตสาหกรรม คนกลาง รัฐบาล และต่างประเทศ
2. สิ่งแวดล้อมที่ควบคุมได้ คือ สิ่งแวดล้อมภายใน แบ่งเป็นปัจจัยทางการตลาด หรือ 4 Ps และอื่นๆ สิ่งแวดล้อมภายในที่เป็นส่วนผสมทางการตลาด ได้แก่ Product , Price, Place, Promotion (4Ps)
สิ่งแวดล้อมภายในอื่นๆ ได้แก่
1) ฝ่ายการผลิต
2) การเงิน
2) การเงิน
3) ทรัพยากรมนุษย์
4) ที่ตั้งบริษัท
4) ที่ตั้งบริษัท
5)
ความสำเร็จในการวิจัยและพัฒนา
6) ภาพพจน์ของบริษัท
6) ภาพพจน์ของบริษัท
เครื่องมือในการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
คือ SWOT ประกอบด้วย
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น