พฤติกรรมผู้บริโภค
หมายถึง "กระบวนการตัดสินใจ
ซึ่งจะเป็นการปฏิบัติที่จะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อและการใช้สินค้า และ/
หรือบริการต่างๆ"
ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค
- ประโยชน์ต่อการจัดการหรือการบริหารการตลาด
- ประโยชน์ที่สามารถชี้แนวทางไปสู่โอกาสทางการตลาดใหม่ๆ
- ประโยชน์ต่อการเลือกส่วนแบ่งตลาด
- ประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพด้านกลยุทธ์
- ประโยชน์ของการปรับปรุงกิจการร้านค้าปลีก
ปัจจัยภายใน 5 ประการ
ได้แก่
1. การจูงใจ หมายถึง แรงผลักดัน ความมุ่งประสงค์หรือความต้องการต่าง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ พฤติกรรมสิ่งจูงใจ (Motives) เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ
1. การจูงใจ หมายถึง แรงผลักดัน ความมุ่งประสงค์หรือความต้องการต่าง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ พฤติกรรมสิ่งจูงใจ (Motives) เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ
2. การรับรู้
3. การเรียนรู้
4. บุคลิกภาพ
5. ทัศนคติ
ปัจจัยภายใน 4 ประการ
ได้แก่
1.
กลุ่มอ้างอิง (Reference groups)
2. ชั้นทางสังคม (Social Class)
3. ครอบครัว (Family)
4. วัฒนธรรม (Culture)
กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค
กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค
บทบาทของผู้บริโภค
1. ผู้ริเริ่ม (Initiator)
2. ผู้มีอิทธิพล (Influence)
3. ผู้ตัดสินใจ (Decider)
4. ผู้ซื้อ (Buyer)
5. ผู้ใช้ (User)
ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อ
1. การแสวงหาทางเลือก (Search for alternatives)
2. การประเมินผลทางเลือก (Evaluation of alternatives)
2.1
พิจารณาคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์
2.2
พิจารณาถึงความเชื่อถือตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์
2.3
พิจารณาถึงอรรถประโยชน์ที่จะได้รับจากผลิตภัณฑ์
3. การตัดสินใจซื้อ (Purchase decision)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น