ช่องทางการจัดจำหน่าย หมายถึง
“กลุ่มองค์กรอิสระที่ช่วยอำนวยการขนย้ายแลกเปลี่ยนสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค
หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม”
ผู้มีส่วนร่วมในช่องทางจัดจำหน่าย
1. ผู้มีส่วนร่วมที่เป็นสมาชิก (Member participants)
“ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ซื้อและขายรวมทั้งการโอนกรรมสิทธิ์สินค้า”
2. ผู้มีส่วนร่วมที่ไม่เป็นสมาชิก (Nonmember participants)
“ผู้มีหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกและสนับสนุนกลุ่มที่
1”
หน้าที่ในช่องทางการจัดจำหน่าย
1. หน้าที่ทางด้านวิจัย 2. หน้าที่ด้านการส่งเสริมการตลาด
3. หน้าที่ทางด้านการติดต่อ 4.
การคัดเลือกและการจัดสรรสินค้า
5. หน้าที่ทางด้านการต่อรอง 6. หน้าที่การขนส่งและการเก็บรักษา
7. หน้าที่ด้านการเงิน 8. หน้าที่รับภาระความเสี่ยง
การออกแบบช่องทางการจัดจำหน่าย
1. ระบุความจำเป็นที่ต้องออกแบบ
1.1
ผลิตภัณฑ์ใหม่หรือ พัฒนาสายผลิตภัณฑ์ใหม่
1.2 ผลิตภัณฑ์เดิมกลุ่มเป้าหมายใหม่
1.3 มีการเปลี่ยนแปลง 4 P’s
1.4 ตั้งกิจการใหม่หรือมีการรวมกิจการ
1.5 คนกลางในช่องทางเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย
1.6 เกิดความขัดแย้งหรือ ปัญหาด้านพฤติกรรม
1.7 ขยายพื้นที่การขาย
1.8 การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
1.9 ตรวจสอบและประเมินช่องทางการจัดจำหน่ายเดิมการประเมินและการเลือกช่องทาง
1.2 ผลิตภัณฑ์เดิมกลุ่มเป้าหมายใหม่
1.3 มีการเปลี่ยนแปลง 4 P’s
1.4 ตั้งกิจการใหม่หรือมีการรวมกิจการ
1.5 คนกลางในช่องทางเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย
1.6 เกิดความขัดแย้งหรือ ปัญหาด้านพฤติกรรม
1.7 ขยายพื้นที่การขาย
1.8 การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
1.9 ตรวจสอบและประเมินช่องทางการจัดจำหน่ายเดิมการประเมินและการเลือกช่องทาง
2. ตั้งวัตถุประสงค์ของช่องทาง
3. กำหนดงานและหน้าที่ในช่องทาง
4. การพัฒนาโครงสร้างช่องทางที่จะอาจเป็นไปได้
การประเมินและการเลือกช่องทาง
1. ปัจจัยด้านการตลาด 2. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์
3. ปัจจัยทางด้านบริษัท 4.
ปัจจัยทางด้านคนกลาง การค้าส่ง เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการขายให้องค์กร โดยองค์กรจะนำไปขาย ผลิต หรือดำเนินการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น